บันทึกครั้งที่ 1
วันจันทร์ ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2559
ความรู้ที่ได้รับ
ความหมายของผู้ปกครอง
Summers Della,1998 กล่าวว่า ผู้ปกครอง หมายถึง พ่อหรือแม่ของบุคคล
Encyclopedia,2000 อธิบายไว้ว่า ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ที่เป็นพ่อหรือผู้ที่เป็นแม่
ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือ
1. ผู้ปกครองโดยสายเลือด
2. ผู้ปกครองโดยสังคม
พรรณิดา สันติพงษ์ (2526) ได้อธิบายว่า ผู้ปกครอง หมายถึง บุคคลที่มีความสัมพันธ์ กับเด็ก โดยอยู่ร่วมกันในครอบครัวเดียวกันและมีส่วนในการอบรมสั่งสอน และเตรียม ความพร้อมให้กับเด็ก
จินตนา ปัณฑวงศ์ (2531) ได้อธิบายว่า ผู้ปกครอง หมายถึง พ่อ แม่ หรือบุคคลอื่น
1. ผู้ปกครองโดยสายเลือด
2. ผู้ปกครองโดยสังคม
จินตนา ปัณฑวงศ์ (2531) ได้อธิบายว่า ผู้ปกครอง หมายถึง พ่อ แม่ หรือบุคคลอื่น
อาจจะเป็นญาติมิตรหรือผู้อื่น ซึ่งพ่อแม่ไว้วางใจให้ทำหน้าที่อบรมเลี้ยงดูตลอดจน ให้การศึกษาแก่เด็ก
สรุปได้ว่า ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ที่เป็นบิดา มารดา หรือบุคคลอื่นที่ให้การอบรมเลี้ยงดู
ให้การศึกษาแก่เด็กที่อยู่ในการดูแล ดังนั้นในการกล่าวถึงผู้ปกครองจึงมีความหมาย
รวมถึงบุคคลที่เป็นพ่อและแม่ด้วย
ความสำคัญของผู้ปกครอง
Pestalozzi ได้กล่าวถึง ความสำคัญของพ่อแม่ ผู้ปกครองว่า ความรักของพ่อแม่
Lee Center and Marlene Center,1992 ได้กล่าวไว้ว่า ผู้ปกครองเป็นผู้ที่มี
ความสำคัญที่สุดต่อชีวิตของเด็ก ความรักและความอบอุ่นจากผู้ปกครองเป็น
ความต้องการของเด็กทุกคน ผู้ปกครองจึงเป็นบุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการ
เจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็ก
เป็นพลังสำคัญในการเจริญเติบโตของเด็ก ความรักที่ประกอบด้วยเหตุผลและ
ความมุ่งมั่นที่จะปลูกฝังสิ่งที่ดีงามให้แก่เด็กเป็นบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
อย่างแท้จริง
ฉันทนา ภาคบงกช (2531) กล่าวว่า ผู้ปกครองเป็นบุคคลที่สำคัญในการอบรมเลี้ยง
ดูเด็ก เพราะเป็นผู้ใกล้ชิดกับเด็กมากที่สุดสามารถที่จะตองสนองความต้องการพื้นฐาน ของเด็ก ได้แก่ ความต้องการในการดำรงชีวิต ความต้องการความรักความอบอุ่น นอกจากนี้เด็กยังได้อิทธิพลจากสภาพแวดล้อมภายในครอบครัว เด็กจะมีพัฒนาการ
ทางบุคลิกภาพอย่างไร ย่อมขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูจากบ้านเป็นสำคัญ คุณภาพของ เด็กมีผลมาจากการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครองเป็นอย่างมาก
บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง
ภารกิจของพ่อแม่ ผู้ปกครอง คือ การอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา บทบาทของพ่อแม่ในการเลี้ยงดูเด็กมี 3 ประการ คือ
1. เป็นผู้ให้การเลี้ยงดูเพื่อสร้างเสริมสุขภาพกายและใจที่ดีให้กับเด็ก
2. เป็นผู้ให้การศึกษาเบื้องต้น
3. เป็นผู้ส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา
การศึกษา ทำความเข้าใจและแสวงหาประสบการณ์ว่าเด็กในแต่ละวันมีพัฒนาการ
1. เป็นผู้ให้การเลี้ยงดูเพื่อสร้างเสริมสุขภาพกายและใจที่ดีให้กับเด็ก
2. เป็นผู้ให้การศึกษาเบื้องต้น
3. เป็นผู้ส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา
บทบาทและหน้าที่ด้านการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
และการเรียนรู้อย่างไร พ่อแม่ ผู้ปกครอง สามารถส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ให้ลูกได้อย่างถูกวิธี ดังนี้
1. ช่วยจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับกิจกรรมที่โรงเรียน
2. ส่งเสริมให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงให้มาก
3. สนทนาให้ความเป็นกันเองกับเด็ก ป้อนคำถามให้เด็กได้คิดหาคำตอบ
4. ชมเชยเมื่อเด็กทำความดี ทำได้ถูกต้อง ในขณะที่ทำผิดก็ต้องชี้แจงให้เด็ก
1. ช่วยจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับกิจกรรมที่โรงเรียน
2. ส่งเสริมให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงให้มาก
3. สนทนาให้ความเป็นกันเองกับเด็ก ป้อนคำถามให้เด็กได้คิดหาคำตอบ
4. ชมเชยเมื่อเด็กทำความดี ทำได้ถูกต้อง ในขณะที่ทำผิดก็ต้องชี้แจงให้เด็ก
เข้าใจให้ถูกต้องก่อนที่เด็กจะจำวิธีการผิดๆ ไปใช้
5. ให้เด็กมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ช่วยเหลืองานในบ้านที่เหมาะสมกับวัย
6. ให้อิสระแก่เด็กบ้างในบางโอกาส
7. สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดปัญญา
8. คอยติดตามการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของเด็ก โดยไม่เข้มงวดกวดขันจนเกินไป
9. ติดต่อกับครูของเด็กเพื่อรับทราบปัญหาและให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา
5. ให้เด็กมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ช่วยเหลืองานในบ้านที่เหมาะสมกับวัย
6. ให้อิสระแก่เด็กบ้างในบางโอกาส
7. สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดปัญญา
8. คอยติดตามการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของเด็ก โดยไม่เข้มงวดกวดขันจนเกินไป
9. ติดต่อกับครูของเด็กเพื่อรับทราบปัญหาและให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา
ก่อนที่จะสายเกินแก้
บทบาทและหน้าที่ในการส่งเสริมการศึกษา
การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มนุษย์กับการศึกษา
เป็นสิ่งที่อยู่คู่กันตลอดชีวิต พ่อแม่ ผู้ปกครองถือเป็นบุคคลแรกที่ทำหน้าที่ในการ
ส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพให้แก่เด็กในแนวทางที่เหมาะสมและช่วย
ส่งเสริมการศึกษาให้แก่เด็กดังนี้
1. ความอุทิศตน ในการมีเวลาให้กับลูกอย่างเต็มที่
2. มีจุดมุ่งหมายสูงส่งเพื่อลูก
3. ช่างสังเกตถี่ถ้วน
4. ใช้สามัญสำนึกในการเลี้ยงลูก
1. ความอุทิศตน ในการมีเวลาให้กับลูกอย่างเต็มที่
2. มีจุดมุ่งหมายสูงส่งเพื่อลูก
3. ช่างสังเกตถี่ถ้วน
4. ใช้สามัญสำนึกในการเลี้ยงลูก
5. ปลูกฝังวินัย ความเป็นไทย
2. ให้ความเอาใจใส่และเอื้ออาทรต่อลูก
3. ทำตนให้เป็นแบบที่ดีแก่ลูก
4. ให้ประสบการณ์การเรียนรู้ในสังคมเกี่ยวกับการปฏิบัติตน
5. ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ให้เป็นไปตามวัย
6. ให้หลักธรรมในการพัฒนาเด็กด้วยหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)
7. ส่งเสริมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ โดยผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย
8. ศึกษาการเจริญเติบโตของเด็ก
9. เอาใจใส่ดูแลสุขภาพ
10. สนับสนุนเตรียมความพร้อมก่อนสู่สังคม
ประยุกต์ใช้ ในวิชาหรือศาสตร์อื่นๆที่ได้ทำประโยชน์และมีคุณภาพ
ประเมินตนเอง กาเรียนรู้การทำงานหรือการดูเเลเด็กปฐมวัย
ประเมินเพื่อน เพื่อนๆตั้งใจเรียนเเละทำงาน
ประเมินผู้สอน อาจารย์อธิบายเเละสอนอย่างละเอียดมากค่ะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น